ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -ลา ๑-, *ลา ๑* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา ลา ๑ มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *ลา ๑*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ลา ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Equidae รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่ ขนแผงคอสั้นตั้งตรง ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาลำตัวสีเทา เช่น ชนิด <i>Equus</i> <i>asinus</i> (Linn.) และทวีปเอเชียลำตัวสีเหลืองเข้มจนถึงสีน้ำตาลอมแดง เช่น ชนิด <i>E. hemionus</i> (Pallas) ที่นิยมนำมาเลี้ยง เช่น ชนิดย่อย <i>E</i>.<i>a. asinus</i> (Linn.) | กระลา ๑ | น. ท่วงที. (อนันตวิภาค) | กระลา ๑ | ที่, กอง, เช่น กระลาบังคลคนผจง (ดุษฎีสังเวย). | กะลา ๑ | น. ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้อมะพร้าว ถ้าผ่าซีก ซีกที่มีตา เรียกว่า กะลาตัวผู้ ซีกที่ตัน เรียกว่า กะลาตัวเมีย | กะลา ๑ | เรียกชามเนื้อกระเบื้อง รูปร่างคล้ายกะลา ด้านนอกสีน้ำตาลแก่ ด้านในสีขาว เขียนลายสีคราม มีขนาดต่าง ๆ กัน ว่า ชามกะลา | กะลา ๑ | เรียกผมที่ตัดเป็นรูปกะลาครอบ ว่า ผมทรงกะลาครอบ | กะลา ๑ | เรียกหมวกที่มีรูปคล้ายกะลาครอบ ว่า หมวกกะลา หรือ หมวกกะลาครอบ. | กะลา ๑ | ว. มีค่าน้อย เช่น เก่ากะลา. | กาหลา ๑ | (-หฺลา) ว. เหมือนดอกไม้. | กุลา ๑ | น. ชื่อว่าวชนิดหนึ่ง มีรูปร่าง ๕ แฉก หัวแหลม, คู่กับ ว่าวปักเป้า, ว่าวจุฬา ก็เรียก. | ชาลา ๑ | น. ความรุ่งเรือง, เปลวไฟ, โคมไฟ, แสงสว่าง. | ปลา ๑ | (ปฺลา) น. ชื่อสัตว์น้ำเลือดเย็นมีกระดูกสันหลัง ร่างกายแบ่งเป็นส่วนหัว ลำตัว และหาง หายใจด้วยเหงือกยกเว้นปลาปอด มีครีบใช้ช่วยในการเคลื่อนไหวและทรงตัว บางชนิดมีเกล็ด บางชนิดไม่มี รูปร่างลักษณะ ขนาด และพฤติกรรมแตกต่างกันมากมาย กินทั้งพืชและสัตว์ พบในแหล่งนํ้าทั่วไป. | พลับพลา ๑ | (-พฺลา) น. ที่ประทับชั่วครั้งคราวสำหรับรับรองพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมราชวงศ์ชั้นสูง. | เพลา ๑ | (เพ-ลา) น. กาล, คราว. | มูล ๔, มูละ, มูลา ๑ | (มูน) น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๙ มี ๙ ดวง เห็นเป็นรูปสะดือนาค, ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว ก็เรียก. | มูลา ๑ | <i>ดู มูล ๔, มูละ</i>. | เลา ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i>Saccharum</i> <i>spontaneum</i> L. ในวงศ์ Gramineae ดอกสีขาวเงิน เป็นมัน, พง หรือ อ้อยเลา ก็เรียก | เลา ๑ | เรียกผมที่หงอกขาวและมีสีดำแซมอยู่บ้าง ว่า ผมสีดอกเลา. | เสล-, เสลา ๑ | (-ละ-, -ลา) น. ภูเขา, หิน. | เสล-, เสลา ๑ | (-ละ-, -ลา) ว. เต็มไปด้วยหิน. | หงสลีลา, หงส์ลีลา ๑ | (หงสะลีลา, หงลีลา) น. ท่าเดินอย่างหงส์. | เหลา ๑ | (เห-ลา) น. ความหมิ่น | เหลา ๑ | ความสนุก | เหลา ๑ | การเล่น, การกีฬา | เหลา ๑ | การหยอกเอิน | เหลา ๑ | ความสะดวกสบาย. | กลองเพล | (-เพน) น. กลองทัดขนาดใหญ่ใช้ตีเป็นสัญญาณบอกเวลา ๑๑ นาฬิกา เพื่อภิกษุสามเณรจะได้ฉันเพล. | ครอบครองปรปักษ์ | ก. ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๑๐ ปี ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๕ ปี บุคคลนั้นได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น. | ติมิ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมิงคละ | (-คะละ) น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมินทะ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมิรปิงคละ | (ติมิระปิงคะละ) น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | เที่ยงตรง | น. เวลา ๑๒.๐๐ น. | นาง ๓ | <i>ดู ปลาแดง ใน ปลา ๑</i>. | ปี | เวลา ๑๒ เดือนตามสุริยคติ. | ปีแสง | น. หน่วยวัดระยะซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์ โดยกำหนดว่าระยะ ๑ ปีแสง คือ ระยะที่แสงเคลื่อนที่ไปได้ในเวลา ๑ ปี ซึ่งเป็นระยะ ๕.๘๗๘๔๘ x ๑๐<sub>๑๒</sub> ไมล์ หรือ ๙.๔๖๐๕ x ๑๐<sub>๑๒</sub> กิโลเมตร. | พง ๒ | <i>ดู แขม ๑ และ เลา ๑</i>. | มหาติมิระ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ลัคน-, ลัคน์, ลัคนา | (ลักคะนะ-, ลัก, ลักคะนา) น. ราศีที่ปรากฏขึ้นที่ขอบฟ้าทางทิศตะวันออกในเวลาเจ้าของชะตาเกิด เช่น นาย ก เกิดเวลา ๑๑.๐๐ น. ลัคนาสถิตราศีกันย์, ในดวงชะตาถ้าอาทิตย์อยู่ในราศีเดียวกับลัคน์ เรียกว่า อาทิตย์กุมลัคน์ | ลัคน-, ลัคน์, ลัคนา | เวลาหรือวันที่ถือว่าเป็นมงคลสำหรับลงมือทำการใด ๆ, ถ้าเป็นเวลาที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนกาล ถ้าเป็นวันที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนทิน เช่น โหรคำนวณว่าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม เป็น ลัคนทิน เวลา ๑๗.๐๐ น. เป็น ลัคนกาล เป็นวันและเวลาที่เหมาะสำหรับทำพิธีรดนํ้าแต่งงาน. | วัน ๑ | น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน | สิ้นสุด | ก. ถึงที่สุด, จบ, เช่น การแข่งขันบาสเกตบอลสิ้นสุดลงเมื่อเวลา ๑๘.๐๐ น. การเจรจายุติสงครามสิ้นสุดลงแล้ว, สุดสิ้น ก็ว่า. | อนนต์ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา, ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อานนท์ ก็ว่า. | อ้อยเลา | <i>ดู เลา ๑</i>. | อัชฌนาโรหะ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัวในหนังสือไตรภูมิกถา. | อานนท์ ๒ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา, ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อนนต์ ก็ว่า. |
| กระลา ๑ | น. ท่วงที. (อนันตวิภาค) | กระลา ๑ | ที่, กอง, เช่น กระลาบังคลคนผจง (ดุษฎีสังเวย). | กะลา ๑ | น. ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้อมะพร้าว ถ้าผ่าซีก ซีกที่มีตา เรียกว่า กะลาตัวผู้ ซีกที่ตัน เรียกว่า กะลาตัวเมีย | กะลา ๑ | เรียกชามเนื้อกระเบื้อง รูปร่างคล้ายกะลา ด้านนอกสีน้ำตาลแก่ ด้านในสีขาว เขียนลายสีคราม มีขนาดต่าง ๆ กัน ว่า ชามกะลา | กะลา ๑ | เรียกผมที่ตัดเป็นรูปกะลาครอบ ว่า ผมทรงกะลาครอบ | กะลา ๑ | เรียกหมวกที่มีรูปคล้ายกะลาครอบ ว่า หมวกกะลา หรือ หมวกกะลาครอบ. | กะลา ๑ | ว. มีค่าน้อย เช่น เก่ากะลา. | กาหลา ๑ | (-หฺลา) ว. เหมือนดอกไม้. | กุลา ๑ | น. ชื่อว่าวชนิดหนึ่ง มีรูปร่าง ๕ แฉก หัวแหลม, คู่กับ ว่าวปักเป้า, ว่าวจุฬา ก็เรียก. | ชาลา ๑ | น. ความรุ่งเรือง, เปลวไฟ, โคมไฟ, แสงสว่าง. | ปลา ๑ | (ปฺลา) น. ชื่อสัตว์น้ำเลือดเย็นมีกระดูกสันหลัง ร่างกายแบ่งเป็นส่วนหัว ลำตัว และหาง หายใจด้วยเหงือกยกเว้นปลาปอด มีครีบใช้ช่วยในการเคลื่อนไหวและทรงตัว บางชนิดมีเกล็ด บางชนิดไม่มี รูปร่างลักษณะ ขนาด และพฤติกรรมแตกต่างกันมากมาย กินทั้งพืชและสัตว์ พบในแหล่งนํ้าทั่วไป. | พลับพลา ๑ | (-พฺลา) น. ที่ประทับชั่วครั้งคราวสำหรับรับรองพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมราชวงศ์ชั้นสูง. | เพลา ๑ | (เพ-ลา) น. กาล, คราว. | มูล ๔, มูละ, มูลา ๑ | (มูน) น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๙ มี ๙ ดวง เห็นเป็นรูปสะดือนาค, ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว ก็เรียก. | มูลา ๑ | <i>ดู มูล ๔, มูละ</i>. | ลา ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Equidae รูปร่างคล้ายม้าแต่ตัวเล็กกว่า หูยาว ปลายหางเป็นพู่ ขนแผงคอสั้นตั้งตรง ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาลำตัวสีเทา เช่น ชนิด <i>Equus</i> <i>asinus</i> (Linn.) และทวีปเอเชียลำตัวสีเหลืองเข้มจนถึงสีน้ำตาลอมแดง เช่น ชนิด <i>E. hemionus</i> (Pallas) ที่นิยมนำมาเลี้ยง เช่น ชนิดย่อย <i>E</i>.<i>a. asinus</i> (Linn.) | เลา ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i>Saccharum</i> <i>spontaneum</i> L. ในวงศ์ Gramineae ดอกสีขาวเงิน เป็นมัน, พง หรือ อ้อยเลา ก็เรียก | เลา ๑ | เรียกผมที่หงอกขาวและมีสีดำแซมอยู่บ้าง ว่า ผมสีดอกเลา. | เสล-, เสลา ๑ | (-ละ-, -ลา) น. ภูเขา, หิน. | เสล-, เสลา ๑ | (-ละ-, -ลา) ว. เต็มไปด้วยหิน. | หงสลีลา, หงส์ลีลา ๑ | (หงสะลีลา, หงลีลา) น. ท่าเดินอย่างหงส์. | เหลา ๑ | (เห-ลา) น. ความหมิ่น | เหลา ๑ | ความสนุก | เหลา ๑ | การเล่น, การกีฬา | เหลา ๑ | การหยอกเอิน | เหลา ๑ | ความสะดวกสบาย. | กลองเพล | (-เพน) น. กลองทัดขนาดใหญ่ใช้ตีเป็นสัญญาณบอกเวลา ๑๑ นาฬิกา เพื่อภิกษุสามเณรจะได้ฉันเพล. | ครอบครองปรปักษ์ | ก. ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๑๐ ปี ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๕ ปี บุคคลนั้นได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น. | ติมิ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมิงคละ | (-คะละ) น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมินทะ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ติมิรปิงคละ | (ติมิระปิงคะละ) น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | เที่ยงตรง | น. เวลา ๑๒.๐๐ น. | นาง ๓ | <i>ดู ปลาแดง ใน ปลา ๑</i>. | ปี | เวลา ๑๒ เดือนตามสุริยคติ. | ปีแสง | น. หน่วยวัดระยะซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์ โดยกำหนดว่าระยะ ๑ ปีแสง คือ ระยะที่แสงเคลื่อนที่ไปได้ในเวลา ๑ ปี ซึ่งเป็นระยะ ๕.๘๗๘๔๘ x ๑๐<sub>๑๒</sub> ไมล์ หรือ ๙.๔๖๐๕ x ๑๐<sub>๑๒</sub> กิโลเมตร. | พง ๒ | <i>ดู แขม ๑ และ เลา ๑</i>. | มหาติมิระ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา. | ลัคน-, ลัคน์, ลัคนา | (ลักคะนะ-, ลัก, ลักคะนา) น. ราศีที่ปรากฏขึ้นที่ขอบฟ้าทางทิศตะวันออกในเวลาเจ้าของชะตาเกิด เช่น นาย ก เกิดเวลา ๑๑.๐๐ น. ลัคนาสถิตราศีกันย์, ในดวงชะตาถ้าอาทิตย์อยู่ในราศีเดียวกับลัคน์ เรียกว่า อาทิตย์กุมลัคน์ | ลัคน-, ลัคน์, ลัคนา | เวลาหรือวันที่ถือว่าเป็นมงคลสำหรับลงมือทำการใด ๆ, ถ้าเป็นเวลาที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนกาล ถ้าเป็นวันที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนทิน เช่น โหรคำนวณว่าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม เป็น ลัคนทิน เวลา ๑๗.๐๐ น. เป็น ลัคนกาล เป็นวันและเวลาที่เหมาะสำหรับทำพิธีรดนํ้าแต่งงาน. | วัน ๑ | น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน | สิ้นสุด | ก. ถึงที่สุด, จบ, เช่น การแข่งขันบาสเกตบอลสิ้นสุดลงเมื่อเวลา ๑๘.๐๐ น. การเจรจายุติสงครามสิ้นสุดลงแล้ว, สุดสิ้น ก็ว่า. | อนนต์ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา, ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อานนท์ ก็ว่า. | อ้อยเลา | <i>ดู เลา ๑</i>. | อัชฌนาโรหะ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัวในหนังสือไตรภูมิกถา. | อานนท์ ๒ | น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา, ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อนนต์ ก็ว่า. |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |